วันพุธที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2559

ฟีนิลคีโตนูเรีย (Phenylketonuria)

  เป็น โรคทางพันธุกรรม ที่เกิดจากการถ่ายทอดทางโครโมโซม โดยโครโมโซมนั้นมีความบกพร่องของยีนที่สร้าง Phenylalanine hydroxylase ทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถสร้างเอนไซม์นี้ได้ จึงไม่สามารถย่อยสลายกรดอะมิโน phenylalanine ไปเป็น tyrosine เหมือนคนปกติ จึงเกิดภาวะ phenylalaine สะสมในเลือดมากผิดปกติ และมี phenylpyruvic acid อ่านเพิ่มเติม

กลุ่มอาการคริดูชาต์ หรือ แคทครายซินโดรม

 เกิดจากโครโมโซมคู่ที่ 5 ขาดหายไปบางส่วน ทำให้ผู้ป่วยมีศีรษะเล็กกว่าปกติ เกิดภาวะปัญญาอ่อน หน้ากลม ใบหูต่ำ ตาห่าง หางตาชี้ นิ้วมือสั้น เจริญเติบโตได้ช้า เวลาร้องจะมีเสียงเหมือนแมว จึงเป็นที่มาของชื่อโรคนี้ว่า แคทครายซินโดรม (cat cry syndrome) อ่านเพิ่มเติม

วันเสาร์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2559

โรคที่เกิดจากพันธุกรรม

 โรคทางพันธุกรรม หรือ โรคติดต่อทางพันธุกรรม เป็น โรคที่เกิดขึ้นโดยมีสาเหตุมาจากการถ่ายทอดพันธุกรรมของฝั่งพ่อและแม่ หากหน่วยพันธุกรรมของพ่อและแม่มีความผิดปกติแฝงอยู่ โดยความผิดปกติเหล่านี้เกิดขึ้นมาจากการผ่าเหล่าของหน่วยพันธุกรรมบรรพบุรุษ ทำให้หน่วยพันธุกรรมเปลี่ยนไปจากเดิ  อ่านเพิ่มเติม



โรคธาลัสซีเมีย

เป็นโรคที่มีความผิดปกติในการสร้างฮีโมโกลบิน ซึ่งเป็นส่วนประกอบในการสร้างเม็ดเลือดแดง ทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง จากการที่เม็ดเลือดแดงแตกง่ายกว่าปกติ โรคนี้เป็นได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย พ่อและแม่จะเป็นผู้ถ่ายทอดยีนผิดปกตินี้ไปยังลูก พบผู้ป่วยเป็นโรคนี้ได้ทั่วโลก ในประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคเลือดจางธาลัสซีเมีย ประมาณร้อยละ 1 ของประชากร และพบผู้ที่มียีนแฝง (พาหะ) ประมาณร้อยละ 40 ของประชาก อ่านเพิ่มเติม


อาการปวดหัว

อาการปวดศีรษะเป็นอาการที่พบได้บ่อยมาก ผู้ที่มีอาการปวดศีรษะส่วนใหญ่ซื้อยาแก้ปวดรับประทานก็บรรเทาอาการปวด สาเหตุของปวดศีรษะส่วนใหญ่ไม่ร้ายแรง
อาการปวดศีรษะแบ่งออกเป็นสองชนิดได้แก่

PRIMARY HEADACHES

เป็นอาการปวดศีรษะที่พบบ่อยที่สุด อาการปวดศีรษะเกิดจากความผิดปกติของสม  อ่านเพิ่มเติม

โรคมะเร็ง

ในปัจจุบันแม้ว่าหลายๆ คนจะเริ่มหันมาใส่ใจในสุขภาพร่างกายของตัวเองกันมากขึ้น แต่บรรดาเชื้อโรคต่างๆ ก็พัฒนาตัวเองขึ้นมาอย่างไม่หยุดยั้งเช่นกัน โดยเฉพาะโรคมะเร็งที่เรียกได้ว่าเป็นโรคยอดฮิตที่ผู้คนเป็นกันเยอะมากๆ ยิ่งกว่าโรคติดต่อเสียอีก เรียกได้ว่าเป็นฆาตกรเลือดเย็นที่ฆ่าผู้คนและคร่าชีวิตมนุษย์จากทั่วโลกทุกวันกว่า 200 ชนิดเลยทีเดีย อ่านเพิ่มเติม


โรคตาบอดสี

โดยทั่วไปมนุษย์จะมีเซลล์รับแสงอยู่ด้วยกัน 2 กลุ่ม กลุ่มแรกทำหน้าที่รับรู้ถึงความมืด หรือ สว่าง ไม่สามารถแยกแยะสีสันได้ แต่จะมีความไวในการกระตุ้นแม้ในที่ที่มีแสงเพียงเล็กน้อย เช่น เวลากลางคืน ส่วนเซลล์กลุ่มที่สองจะทำหน้าที่บอกสีต่าง ๆ ที่เรามองเห็น โดยจะแยกได้อีกเป็น 3 ชนิด ตามระดับคลื่นแสง หรือสี ที่กระตุ้น ได้แก่ เซลล์รับแสงสีแดง เซลล์รับแสงสีน้ำเงิน และเซลส์รับแสงสีเขียวสำหรับการรับแสงสีอื่น โดยให้สมองเราแปลภาพออกมาเป็นสีต่   อ่านเพิ่มเติม


โรคหัวใจ

โรคหัวใจเป็นโรคที่พบบ่อยโดยเฉพาะโรคหัวใจที่เกิดกับหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ นอกจากนั้นยังเกิดโรคหัวใจที่กล้ามเนื้อหัวใจ ลิ้นหัวใจ เยื่อหุ้มหัวใจ
สำหรับประเทศไทยอัตราการเกิดโรคหัวใจ เพิ่มขึ้นอย่างมาก และอัตราการตาย เพิ่มขึ้นเป็นอันดับต้นๆของประเทศ เรามาเรียนรู้โรคเกี่  



โรคเบาหวาน

โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรัง และก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพ ก่อให้เกิดปัญหากับ ฟันและเหงือก ตา ไต หัวใจ หลอดเลือดแดง ท่านผู้อ่านสามารถป้องกันโรคแทรกซ้อนต่างๆได้ โดยการปรับ อาหาร การออกกำลังกาย และยาให้เหมาะสม ท่านผู้อ่านสามารถนำข้อเสนอแนะจากบทความนี้ไปปรึกษากับแพทย์ที่รักษาท่านอยู่ ท่านต้องร่วมมือกับคณะแพทย์ที่ทำการรักษาเพื่อกำหนดเป้าหมายการรั 

อ่านเพิ่มเติม

วันพุธที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2559

โรคเลือดออกไหลไม่หยุด

โรคฮีโมฟิเลีย คือโรคเลือดออกไหลไม่หยุด หรือ เลือดออกง่ายหยุดยาก เป็นโรคทางพันธุกรรม

ที่ทำให้เลือดแข็งตัวช้าผิดปกติ ที่พบบ่อยมี 3 ชนิด ได้แก่

  • 1. ฮีโมฟิเลีย เอ เกิดจากการขาดปัจจัยการแข็งตัวของเลือด (factor VIII) และมีการถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบ X-linked recessive
  • 2. ฮีโมฟิเลีย บี เกิดจากการขา  อ่านเพิ่มเติม


โรคดักแด้

     โรคดักแด้ หรือ Epidermolysis Bullosa (EB) อยู่ในกลุ่มโรคประเภทโรคผิวหนัง ซึ่งเกิดจากความผิดปกติที่ไม่ค่อยพบนัก มีสาเหตุจากการกลายพันธุ์จากยีนเคราติน มีอาการผิวแห้ง บอบบางอย่างรุนแรงและมีแผลพุพอง โรคนี้ถูกเปิดเผยสู่สาธารณะในสหราชอาณาจักรทางช่อง 4 รายการ The Boy Whose Skin Fell Off, chronicling the life and death of English sufferer Jonny Kennedy.

          ลองจินตนาการถึงผู้ที่เจ็บปวดจากบาดแผลคล้ายแผลไฟไหม้ไปทั่วร่าง โดยที่บาดแผลเหล่านี้จะไม่หายไป สำหรับเด็ก การขี่จักรยาน เล่  อ่านเพิ่มเติม

อาชีพที่อยากเป็น

อยากเป็น "หมอ"     คุณหมอส่วนใหญ่จะทำงานในโรงพยาบาลซึ่งแบ่งออกเป็นแผนกต่างๆ แล้วแต่ว่าจะทำงานในส่วนไหน ในกรณีที่เป็นการตรวจโรคทั่วไปการทำงานของหมอจะอยู่ในห้อง มีโต๊ะทำงานที่ใช้สำหรับตรวจและพูดคุยกับคนไข้ มีพยาบาลและผู้ช่วยคอยเป็นลูกมือในการทำงาน บรรยากาศก็จะเป็นการพบปะและสอบถามข้อมูลการรักษาคนไข้ ซึ่งจะแต อ่านเพิ่มเติม